『China,中国』 『Thailand,ประเทศไทย,泰国』 MBI国际集团, 张誉发, เตียว ฮุยฮวด, Teow Wooi Huat 2024.8.20

中国从泰国引渡一名特大经济犯罪嫌疑人
公安部经侦局 2024年08月23日 11:27 北京

8月20日22点44分,在国内有关部门、我驻泰国使馆和泰国执法部门的大力协助下,公安部“猎狐行动”工作组将涉嫌组织、领导传销活动罪的特大经济犯罪嫌疑人张某某从泰国成功引渡回国。此案系1999年中泰引渡条约生效后,中国从泰国引渡的首名经济犯罪嫌疑人。

据了解,自2012年以来,以犯罪嫌疑人张某某为首的MBI集团通过发行虚拟数字货币的方式,要求参加者缴纳700元至24.5万元人民币不等的费用获得平台会员资格,以高额返利为诱饵,以发展会员数量、投入资金数量作为计酬方式或者返利依据,实施网络传销违法犯罪活动。该集团共发展会员一千余万人次,涉案资金超一千亿元人民币。

2020年11月,重庆市公安局依法对张某某立案侦查;2021年3月,国际刑警组织中国国家中心局对其发布红色通报。2022年7月21日,泰国警方抓获张某某。随后,中方依据双边引渡条约向泰方提出引渡请求。今年5月21日,泰国上诉法院终审裁决将张某某引渡中国,8月14日,泰国政府作出行政决定,支持法院上述终审裁决。

公安部“猎狐行动”办公室有关负责人表示,张某某的成功引渡,显示了中国政府维护公民权益、捍卫法律尊严的坚定决心和意志,是中泰执法司法合作的重大成果,对巩固深化中泰两国执法司法合作具有里程碑式的意义,也将对今后中国和其他国家引渡合作起到积极示范作用。

(马来西亚媒体)
张誉发终被引渡受审 受害者闻讯感欣慰

余家福:受害者听闻张誉发已被引渡中国受审,皆对此感到高兴。(张韦瑜摄)

(吉隆坡21日讯)涉及欺诈和通过网络洗黑钱而在泰国被捕的大马籍MBI国际集团创办人张誉发,经过2年司法程序后终于被引渡到中国受审,400名中国籍投资受害者闻讯无不感到欣慰。

代表400名中国受害者向张誉发提出民事诉讼的余家福律师指出,张誉发被引渡到中国受审的消息传开后,其委托人皆对此感到高兴。

“他们(受害者)会继续在中国跟进案件的调查进展,以维护本身的权益。”

余家福今早在新闻发布会上说,他在今年6月12日曾就电邮致函泰国司法机构,以询问有关引渡张誉发受审的事情进展,直至本月19日终于收到当局的回复。

他说,当局在回信中表明泰国法庭已完成张誉发针对引渡受审提出上诉的二审程序并且维持原判,张誉发将被引渡到中国受审。

“根据当局的回函,从5月21日算起,中国当局需在90天内引渡张誉发,否则张誉发将被释放(released);换言之,中国当局必须在昨天(20日)之前引渡张誉发。”

余家福向媒体展示泰国司法机构的回函,证实张誉发将被引渡到中国。(张韦瑜摄)

他说,有关张誉发被引渡受审一事的进展,自去年1月之后便没有下文,他一度为此感到忧心,毕竟这对他代表400名中国受害者在大马提出的民事诉讼有很大的影响。

无论如何,他说,有关民事诉讼将于10月7日开庭审讯,他将近尽所能协助受害者向MBI集团和张誉发追讨1亿令吉的投资金。

根据早前报道,57岁的大马籍商人张誉发被指控通过多种业务欺骗中国投资者,一些中国投资者自数年前就通过微博,甚至亲自前来大马维权。

他们指控张誉发通过MBI公司、榴莲树种植投资计划,及发行代币等方式诈财;中国投资者亦声称,被骗人士多达200万人,涉及金额更高达5000亿人民币。

(马来西亚媒体)
MBI国际集团创办人 张誉发被引渡到中国受审

张誉发已于周二下午被中国当局引渡到中国接受调查。(泰叻报)

(吉隆坡21日讯)因涉及欺诈及通过网络洗黑钱而在泰国被捕的大马籍MBI国际集团创办人张誉发,已于昨午在泰国和中国执法官员押送下,乘机从泰国被引渡到中国受审接受调查。

根据泰国媒体《泰叻报》的报道,中国驻泰国大使馆安排官员从曼谷监狱带走张誉发,原定乘坐晚上7时35分的CA960的航班飞往中国,却临时改乘当天下午5时34分上海航空公司FM834航班,从曼谷飞往上海。

在此之前,泰国法院最终裁定将张誉发引渡至中国;根据裁决,从5月21日最终判决之日起90天内,张誉发必须被引渡至中国。

尽管检察官要求法院延长引渡期限时,获法院批准将期限延长至11月15日,不过泰国于昨天让中国当局将张誉发引渡到中国。

根据早前报道,张誉发被指在中国建立传销组织,以提供服务为名,要求参与者支付费用或购买产品以成为会员,会员分为8个级别,并被邀请参加海外考察和领导会议。根据会员级别,他们将获得相应的报酬。

中国投资者声称,被骗人士多达200万人,涉及金额更高达5000亿人民币,一些中国投资者自数年前就通过微博,甚至亲自前来大马维权。

中国警方于2020年11月9日,透过国际刑警发布红色通报通缉张誉发,而大马警方也在2021年点名通缉建立庞大“金字塔骗局”,并且向公众出售MBI集团的股票而被起诉冻结财产的张誉发。

由于在大马和中国的业务都无法继续经营,张誉发没有返马,而是选择在泰国投资。

张誉发在泰国定居近10年,他的公司经营着酒店、娱乐场所、游乐园、市场、建筑、房地产和家具业务,总价值数十亿泰铢。这些产业主要集中在丹诺的经济特区,占地超过100莱(约16公顷)。

他建造并收购了六家五星级酒店和十多个娱乐场所,还耗资5000万泰铢建造了泰国最高的象神雕像,个神像高59公尺以及一尊价值超过2000万泰铢的镶嵌宝石的四面佛,供泰国人民和游客在丹诺象神庙参拜。

泰国警方随后于2022年7月21日,搜查张誉发位于松卡府的MBI公司,并逮捕涉嫌通过网络赌博活动洗黑钱的张誉发;张誉发随后被带到宋卡府移民局,他的泰国签证被撤销,然后被带到曼谷接受调查。

中国和大马警方分别向泰国申请引渡张誉发接受调查,去年1月18日,泰国法庭在线上审讯中,判决张誉发被引渡到中国面对欺诈案的调查,但之后张誉发提出上诉。

(马来西亚媒体)

警员机场押送照片曝光 张誉发 证实被引渡到中国
张誉发已于周二(20日)被引渡至中国面审。

(吉隆坡21日讯)2年前在泰国落网的MBI国际集团创办人张誉发,昨日已被引渡至中国面审了!

根据泰国媒体泰叻报(Thairath)报导,泰国法庭去年1月裁决张誉发将被引渡至中国面审,其代表律师当时称将针对裁决结果提出上诉,最终于泰国上诉庭于今年5月21日的裁决,维持了张誉发需要被引渡到中国受审的判决。

因此,张誉发将被引渡至中国,并表明中方需要在90天内将张誉发引渡,否则泰国官方则需要释放张誉发。

据报导, 中方事后向泰国法庭提交一份请愿书,要求延长引渡张誉发至中国面审的时间,而泰国法庭批准将引渡期限延长至11月15日。

中国驻泰国大使馆随后安排官员,从曼谷监狱接走张誉发,并将他带到曼谷素旺那普国际机场(Suvarnabhumi)的临时拘留室,在官员和当地移民局的协调下,办理离境手续。

报导指,张誉发原定于昨晚7时35分乘坐CA960航班离开泰国,被引渡至中国,但中国当局临时更改航班,于当天下午5点34分乘搭上海航空公司的FM834航班,从曼谷飞往中国上海。

(马来西亚媒体)

泰法院针对上诉已裁决 大马“争输” 张誉发需引渡中国

(吉隆坡21日讯)因涉及诈骗而于2年前在泰国落网的MBI国际集团创办人张誉发,最新进展是泰国法院已针对他需引渡中国的上诉裁决,并维持了他需要被引渡到中国受审的判决。

随着泰国法院作出这项裁决,这意味大马向泰国要求引渡张誉发回国的要求被拒绝,而张誉发则需要被送到中国面对审讯。

无论如何,根据受400名中国籍投资人委托向张誉发进行民事诉讼的大马律师余家福透露,由于泰国法院的上诉裁决是在5月21日作出,当时也表明中方需要在90天内将张誉发引渡,否则泰国官方则需要释放张誉发,惟到目前90天期限已过,张誉发的下落仍不明朗,而让他怀疑张誉发或已重获自由。

余家福今天在其律师楼召开记者会公布他掌握的资料,并表明如今张誉发去向不明,包括是否已被引渡至中国、被遣返回大马,抑或是仍身在泰国,仍是个谜。

他透露,张誉发于2022年在泰国落网后,案件便进入司法程序,中国和大马先后提出引渡张誉发的申请,可见此案的重要性,涉及大众利益。

根据中国媒体报导,截止MBI彻底崩盘,世界范围内共有逾200多万人上当,涉案金额高达5000亿元人民币,其中大部分受害者都来自于中国。

而在大马,MBI于2017年被国家银行列入“金融及消费者警示名单”中,随后政府在贸消部的带领下设立专案小组,当中成员包括总检察署、关税局、大马反贪污委员会、税务局、国行和警方等组成。贸消部较宣布,已分别在8家本地银行冻结91个与该公司挂钩的银行户口,总额为1亿7700万令吉。

余家福向记者展示其律师楼向泰国法院发送官方信函,询问张誉发的上诉结果。

余家福多次查问无下文 接回应 已是引渡中国最后期限

余家福指出,去年1月,泰国法庭裁决张誉发将被引渡至中国面审,其代表律师当时称将针对裁决结果提出上诉,但时隔1年半个月,泰国及本地媒体都没报导此案的后续。

因此,其律师楼于今年6月12日发送正式信函予泰国法院,询问上诉的最终结果,因有关结果与400名投资者对张誉发和MBI国际集团进行民事诉讼一事有关联。

他透露,直到本月19日,律师楼接获一则由泰国司法和法律事务办公室法律官员查莱尔姆猜发送的回函,证实根据泰国上诉庭于今年5月21日的裁决,张誉发将被引渡至中国面审。

“根据回函内容,泰国法院签发了拘留令,拘留张誉发以等待引渡,若在最终裁决日之后的90天内没引渡张誉发,那对方将被释放。”

他指出,如今张誉发是否已被引渡至中国面审、审讯过程及结果如何、抑或是被遣返回大马等等,却不见有媒体进行报导,因此对于张誉发的最新进展仍是个谜。

“据我所知,张誉发在泰国的工作长期居留证已被取消,因此他人在泰国的可能性较低。”

余家福说,对于张誉发的最新状况,包括他是否在中国面审、面审结果如何、抑或是被遣返回大马等,一切是个谜。

民事诉讼 10月7日开审

余家福指出,涉及400名中国投资者对张誉发和MBI国际集团进行民事诉讼,将于今年10月7日开审。

根据新闻背景,张誉发是于2022年7月22日,因涉嫌在泰国南部透过网络赌博进行洗黑钱活动,而在当地被捕。

中国于同年8月10日提出引渡张誉发的申请,大马则是在同年12月20日提出引渡申请。

2023年1月18日,泰国法庭裁决张誉发将被引渡至中国面审,其代表律师将针对裁决结果提出上诉;但过后便一直没有下文。

(马来西亚媒体)

Pengasas MBI Tedy Teow diekstradisi dari Thailand ke China

BANGKOK: Ahli perniagaan Malaysia Tedy Teow Wooi Huat, yang ditangkap oleh pihak berkuasa Thailand pada tahun 2022, telah diekstradisi ke China untuk menghadapi pertuduhan berkaitan penipuan, menurut laporan portal berita Thailand.

Portal Thairath melaporkan bahawa pengasas Kumpulan MBI itu telah dihantar pulang dari Penjara Tahanan Bangkok dengan menaiki pesawat ke China pada hari Selasa.

“Pada 20 Ogos, Teow diekstradisi ke China untuk menghadapi pertuduhan pengubahan wang haram,” lapor portal itu pada hari Rabu.

Laporan itu menyatakan bahawa ahli perniagaan berusia 58 tahun itu diserahkan kepada kedutaan China di Thailand dengan kawalan keselamatan ketat oleh pihak berkuasa China dan Thailand.

Penerbangan asal untuk menghantar beliau telah diubah pada saat akhir, dengan suspek dihantar pulang menggunakan penerbangan lain di bawah kawalan keselamatan ketat oleh pihak berkuasa Thailand dan China.

“Teow dipindahkan ke pusat tahanan sementara di Lapangan Terbang Suvarnabhumi, dengan pegawai dari kedua-dua pihak menguruskan proses ekstradisi selain pihak imigresen membantu dalam proses ekstradisi beliau seperti yang diperintahkan mahkamah,” menurut laporan itu.

Pada 21 Julai 2022, polis Thailand menangkap Teow selepas visanya dibatalkan. Teow dituduh mengatur skim piramid, menipu pelabur dan menjalankan urusniaga multi level marketing.

Polis China telah memohon penangkapan Teow dengan mengeluarkan notis merah melalui Interpol pada 9 November 2020 setelah dilaporkan Teow telah menipu sehingga dua juta orang, dengan ramai warga China menjadi mangsa skim penipuannya.

Di Malaysia, pihak berkuasa telah membekukan 91 akaun bank yang dikaitkan dengan MBI Group International, bernilai RM177 juta, dan Bank Negara, Bank Pusat Malaysia, telah menyenaraikan MBI sebagai syarikat yang menjalankan skim kewangan meragukan.

(2022 年被泰国当局逮捕的马来西亚商人 Tedy Teow Wooi Huat 已被引渡到中国,面临欺诈相关指控。)

(马来西亚媒体)

MBI founder Tedy Teow extradited from Thailand to China

BANGKOK: Malaysian businessman Tedy Teow Wooi Huat who was arrested in 2022 by Thai authorities has been extradited to China to face charges in connection with fraud, according to a Thai news portal.

The Thairath portal reported that the MBI Group founder was deported from Bangkok Remand Prison on a plane to China on Tuesday.

“On August 20, Teow was extradited to China to face money laundering charges,” the portal reported on Wednesday.

The report said the 58-year-old Malaysian was handed over to the Chinese embassy in Thailand under tight security provided by both Chinese and Thai authorities.

The original flight plan was changed at the last minute with the suspect being deported on a different flight amid tight security by both Thai and Chinese authorities.

“Teow was transferred to a temporary detention facility at Suvarnabhumi Airport, with officials from both sides managing the extradition process and immigration authorities facilitating the exit process from the Kingdom as per court orders,” it reported.

On 21 July 2022, the Thai police arrested Teow after his visa was revoked. Teow was accused of organising pyramid schemes, defrauding investors and operating a multi-level marketing business

The Chinese police sought to arrest Teow by issuing a red notice through Interpol on Nov 9, 2020 after it was reported Teow had cheated up to some two million people with many Chinese nationals falling victim to his dubious schemes.

Back in Malaysia, the authorities had frozen 91 bank accounts linked to MBI Group International, valued at RM177mil and Bank Negara, the Central Bank of Malaysia, had listed MBI as a company running a dubious financial scheme.

(MBI 创始人 Tedy Teow 从泰国被引渡至中国)

(马来西亚媒体)

Malaysian businessman Tedy Teow set to face stringent economic crime laws in China (2024.8.24)

PETALING JAYA: Malaysian Tedy Teow, who was extradited to China from Thailand a few days ago, is expected to be the first person to face the republic’s tough economic crime laws.

He is accused of being involved in a cryptocurrency scam involving over 100 billion yuan (RM61.4bil), according to the South China Morning Post.

He is the first suspect in an economic crime that Bangkok has turned over to Beijing since an extradition treaty between the two countries took effect in 1999, according to the Chinese Ministry of Public Security.

“The successful extradition… is of landmark significance to the consolidation and deepening of law enforcement and judicial cooperation between China and Thailand,” the daily quoted the ministry as saying on Friday, calling the move a “major achievement”.

According to the daily, the ministry said the suspect was sent to China on Tuesday and only gave the man’s surname as Zhang.

Zhang Yufa, better known as Tedy Teow Wooi Huat, is the founder of the business conglomerate MBI Group.

Teow is suspected of running a pyramid scheme and defrauding people – most of whom thought to be Chinese nationals -by tricking them into buying MBI’s unlicensed and unrecognised cryptocurrency.

More than 10 million investors have fallen prey to the scheme since 2012, and the money involved amounted to over 100 billion yuan, according to the ministry.

Authorities in the southwest Chinese city of Chongqing had launched an investigation into Teow in late 2020, and months later the China bureau of Interpol, the International Criminal Police Organisation, issued a worldwide wanted notice for him.

Thai police arrested the businessman in July 2022 after he fled Malaysia.

Following that, Beijing submitted a request to Bangkok seeking to have him deported to stand trial in China.

A Thai court issued a final ruling to transfer Teow to China in May, a decision later supported by the Thai government.

Malaysia had also sought Teow’s deportation to Malaysia, where he is also wanted here for fraud.

But their request was made after China’s.

MBI Group, which describes itself as having “diversified interests in resources and management developments”, made headlines in October 2019 when about 100 Chinese nationals staged a demonstration outside Beijing’s embassy in Malaysia claiming they had lost their life savings to the firm.

The Chinese government has characterised Teow’s case as “extraordinary” and expected the handover of the suspect to set a “positive example” for future extradition cooperation between China and other countries.

(泰国媒体)

ส่ง “เตียว ฮุยฮวด” ผู้ร้ายข้ามแดน กลับจีนรับโทษ “คดีฟอกเงิน”

“เตียว ฮุยฮวด” (Teow Wooi Huat) ผู้ต้องหาชาวมาเลเซีย เจ้าของอาณาจักรเอ็มบีไอกรุ๊ป ถูกส่งตัว “ผู้ร้ายข้ามแดน” กลับไปดำเนินคดีที่จีนในคดี “ฟอกเงิน” แล้ว เมื่อวันที่ 20 ส.ค.ที่ผ่านมา ในข้อหาจัดตั้งองค์กรที่ชักจูงและประกอบสินค้าขายตรง แอบอ้างเป็นธุรกิจการให้บริการ โดยให้ผู้เข้าร่วมชำระเงินค่าบริการหรือสินค้าเพื่อเข้าเป็นสมาชิกที่มีลักษณะแชร์ลูกโซ่ที่ประเทศจีน ถูกจับตามหมายแดงอินเตอร์โพลข้อหาฟอกเงิน นำตัวส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้กับประเทศจีน ตามคำสั่งอัยการสูงสุด

รายงานจาก กองการต่างประเทศ ระบุว่า ได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปรับตัว “เตียว ฮุยฮวด” หรือ “เสี่ยว จาง” หรือ “โทนี่ เตียว” ชาวมาเลเซีย วัย 58 ปี จากเรือนจำพิเศษกรุงเทพ เพื่อส่งตัวผู้ต้องหาให้สถานเอก อัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทย ท่ามกลางการดูแลอย่างเข้มงวดของเจ้าหน้าที่จีนและไทย โดยมีการนำตัวส่งห้องควบคุมชั่วคราวที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จัดเจ้าหน้าที่ร่วมควบคุมตัวผู้ร้ายข้ามแดน และฝ่ายพิธีการเข้าเมือง อำนวยความสะดวกในการตรวจอนุญาตให้ผู้ร้ายข้ามแดนออกจากราชอาณาจักรตามคำสั่งศาล

ปี 2563 ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง (ตม.)สงขลา ได้รับหมายแดงของอินเตอร์โพลระบุ ว่า “เตียว ฮุยฮวด” กระทำความผิดในประเทศจีน ตั้งแต่ปี 2552 โดยมีการระดมทุนสร้างเครือข่ายลักษณะแชร์ลูกโซ่ เปิดบริษัทที่ประเทศมาเลเซีย สร้างแพลตฟอร์มทางการเงิน ใช้ชื่อย่อว่า MFC และ MIT มีการจัดงาน และหลอกลวงคนจีนและมาเลเซียให้เข้าสมัครเป็นสมาชิก แบ่งเป็น 8 ระดับ มีการจัดดูงานต่างประเทศ ประชุมระดับผู้นำ แล้วจะจ่ายเงินให้สมาชิกตามระดับ

นอกจากนี้ ยังมีการชักชวนให้นักลงทุนชักชวนบุคคลอื่นมาสมัครสมาชิกโดยจะต้องจ่ายค่าสมาชิกและลงทุน ซื้อสกุลเงินดิจิทัลโดยผู้ชักชวนจะได้รับคะแนนเงินรางวัล ค่าแนะนำ และสิทธิมากมายเป็นการตอบแทน และหลอกลวง ว่า บริษัท MBI ได้ร่วมลงทุนเป็นเงินจำนวน 1.5 พันล้านหยวน ในโครงการด้านการท่องเที่ยว กับรัฐบาลกุ้ยโจวในปี 2559 ทว่าข้อเท็จจริง คือ บริษัท MBI ของ “เตียว ฮุยฮวด” ไม่ได้ร่วมลงทุนด้านการท่องเที่ยวกับรัฐบาลกุ้ยโจว แต่อย่างใด

ดังนั้น เงินรายได้ของบริษัท MBI จึงมาจากการหลอกลวง ให้สมาชิกรายใหม่ร่วมลงทุนในลักษะองค์กร รูปทรงพีระมิด หรือ แชร์ลูกโซ่ โดยไม่มีการนำเงินไปลงทุนเพื่อสร้างผลตอบแทนจริง ซึ่งพฤติการณ์ของ “เตียว ฮุยฮวด” กับพวกที่ร่วมกันหลอกลวงแได้เงินมาอย่างมิชอบด้วยกฎหมาย เหตุดังกล่าวเกิดระหว่างปี 2552-2563 ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน และมาเลเซีย เหตุการณ์นี้ มีคนจีนหลงเชื่อสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกจำนวนมาก มีการแจ้งความดำเนินคดี แต่ในปี 2555 “เตียว ฮุยฮวด” ได้หลบหนีการจับ กุมตำรวจเมืองฉงชิ่ง ประเทศจีน

22 ส.ค.2565 พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล อดีตรอง ผบ.ตร. สมัยเป็นผู้ช่วย ผบ.ตร. นำกำลังตำรวจ สภ.สะเดา จ.สงขลา และตำรวจตรวจคนเข้ามเมือง (ตม.)สงขลา นำหมายแดงองค์การตำรวจสากลหรือ “อินเตอร์โพล” เข้าตรวจค้นบริษัท เอ็มบีไอ จำกัด เลขที่ 888 ถนนกาญจนวณิชย์ เทศบาลตำบลสำนักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา จับกุม “เตียว ฮุยฮวด” พร้อมแจ้งข้อหา ความผิดฐานฟอกเงิน นำตัวไปที่ ตม.สงขลา เพื่อเพิกถอนวีซ่าการพำนักอยู่ในประเทศไทย ก่อนควบคุมตัวไปสอบสวนขยายผลต่อที่กรุงเทพฯ

16 ก.ย.2565 รัฐบาลจีน โดยสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย ได้ยื่นคำร้องขอให้รัฐบาลไทยส่งตัว “เตียว ฮุย ฮวด” บุคคลสัญชาติมาเลเซีย เป็นผู้ร้ายข้ามแดนไปดำเนินคดีที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ในความผิดฐานจัดตั้งองค์กรที่ชักจูงและประกอบการขายตรง โดยแอบอ้างเป็นธุรกิจการให้บริการ ให้ผู้เข้าร่วม ชำระเงินค่าบริการหรือซื้อสินค้าเพื่อเข้าเป็นสมาชิก ให้มีการจัดลำดับชั้น ที่มีลักษณะแชร์ลูกโซ่เพื่อขยายฐานผู้เข้าร่วมมากขึ้น เพื่อนำมาคิดคำนวณเป็นค่าตอบแทน

และมีพฤติกรรมชักชวน ข่มขู่ให้ผู้อื่นมาเข้าร่วม หลอกเอาทรัพย์สิน โดยส่งผลกระทบเศรษฐกิจและสังคม ตามประมวลกฎหมายอาญาสาธารณรัฐประชาชนจีน มาตรา 224 วรรค(1) มีอัตราโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี และโทษปรับ และหากเป็นกรณีที่มีพฤติการณ์ร้ายแรงมีอัตราโทษจำคุก 5 ปีขึ้นไป และโทษปรับ

ทั้งนี้ คำร้องดังกล่าวเป็นไปตาม สนธิสัญญาระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ความผิดตามคำร้องขอดังกล่าว กฎหมายไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีนถือเป็นความผิดอาญามีโทษจำคุกตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป และคดียังไม่ขาดอายุความ ทั้งมิใช่เป็นความผิดที่มีลักษณะทางการเมือง หรือ เป็นความผิดทางทหาร และมีการออกหมายจับบุคคลดังกล่าวไว้แล้ว ในประ เทศผู้ร้องขอ โดยความผิดที่ร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน เป็นความผิดตามกฎหมายไทย เทียบได้กับความผิดฐานกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ฉ้อโกงประชาชน และชักชวนบุคคลเข้าร่วมเครือข่ายในการประกอบธุรกิจขายตรง หรือในการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง

โดยตกลงจะให้ผลประโยชน์ตอบแทน จากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าว ตามพ.ร.ก.การกู้ยืม เงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 มาตรา 4, 5 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 พ.ร.บ.ขายตรงและการตลาดแบบตรง พ.ศ. 2555 มาตรา 19 ซึ่งมีโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป

และผู้ถูกร้องขอ ยังไม่เคยได้รับการพิจารณาหรือพิพากษาลงโทษหรือปล่อยตัวสำหรับข้อหาดังกล่าวใน ราชอาณาจักรไทยหรือสาธารณรัฐประชาชนจีนมาก่อน ทั้งทางการสาธารณรัฐประชาชนจีนยืนยัน ว่า คดียังไม่ขาดอายุความ โดยผู้ร้องขอขอให้ศาลอาญาออกหมายจับผู้ถูกร้องขอแล้ว เมื่อตำรวจจับผู้ถูกร้อง ขอได้ จึงขอให้มีคำสั่งขังผู้ถูกร้องขอไว้ เพื่อส่งข้ามแดนไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามพ.ร.บ.ส่งผู้ร้ายข้ามแดน

มีรายงานระบุ ว่า ก่อนที่จะหลบหนีเข้ามาทำธุรกิจในประเทศไทย “เตียว ฮุยฮวด” ถูกกองบัญชาการตำรวจประเทศมาเลเซีย ดำเนินคดีอายัดทรัพย์สินตรวจสอบข้อหาทำธุรกิจแชร์ลูกโซ่ จากการขายหุ้นธุรกิจในเครือเอ็มบีไอกรุ๊ปให้กับประชาชนในมาเลเซีย และจีน มีการกระทำความผิดที่เข้าข่ายความผิดในกฎหมายแชร์ลูกโซ่ จึงทำให้ไม่กล้าเดินทางกลับประเทศมาเลเซีย

และได้ย้ายฐานมาลงทุนทำธุรกิจในประเทศไทย ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบ้านด่านนอก ต. สำนักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา บนเนื้อที่กว่า 100 ไร่ มานานกว่า 10 ปี และมีบริษัทในเครือมากถึง 15 บริษัท ประกอบธุรกิจหลากหลาย ทั้งกิจการโรงแรม สถานบันเทิง สวนสนุก ตลาด ธุรกิจก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ และเฟอร์นิเจอร์

นอกจากนี้ยังมีการก่อสร้างและซื้อกิจการโรงแรมระดับ 5 ดาว 6 โรงแรม และสถานบันเทิงต่าง ๆ กว่า 10 แห่ง รวมทั้งสร้างพระพิฆเนศองค์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยสูงกว่า 59 เมตร มูลค่า 50 ล้านบาท และสร้างพระพรหมประดับด้วยอัญมณีมูลค่ากว่า 20 ล้านบาท ให้ประชาชนชาวไทยและนักท่องเที่ยวสักการะบูชาที่เทวสถานพระพิฆเนศบ้านด่านนอก

“เตียว ฮุยฮวด” หรือ “โทนี่ เตียว” ชาวมาเลเซีย ถือเป็นผู้ต้องหาคนสำคัญที่ทางการมาเลเซียและจีน ประสานเพื่อขอให้ไทยส่งตัวเป็นผู้ร้ายข้ามแดน ศาลมีคำสั่งให้ส่งตัวกลับไปให้ประเทศจีนดำเนินคดี มีรายงานว่าขั้นตอนรับตัวผู้ต้องหาจากเรือนจำนำส่งประเทศจีน กระทรวงการต่างประเทศมีคำสั่งกำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการให้ข่าวที่เกี่ยวกับผู้ต้องหา

นับตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นมา หลังจีนประกาศแผนปฏิบัติการต่อต้านการฟอกเงิน 2565-2568 โดยประสานความร่วมมือไปยังประเทศต่างๆ ที่มีนักธุรกิจเข้าไปลงทุนฟอกเงินผิดกฎหมาย โดยอ้างยุทธ ศาสตร์ “One Belt one road” ในการทำธุรกิจเพื่อขอรับการยกเว้นภาษีที่ดินจากรัฐบาลท้องถิ่นในประเทศต่าง ๆ

แต่กลับปรากฎในภายหลังว่า มีการทำธุรกิจสีเทาและผิดกฎหมาย จึงทำให้ทางการจีนต้องกวาดล้างกันอย่างเข้มข้น และ “เตียว ฮุยฮวด” อาจเป็นหนึ่งผู้ต้องหารายสำคัญ ที่ถูกนำตัวกลับไปรับโทษตามกฎหมาย

ส่งเตียว ฮุยฮวดไปจีน “เจ้าสัวหมื่นล้าน” มาเลย์ ตามหมายแดงฟอกเงิน

กองการต่างประเทศส่งกลับ “เตียว ฮุยฮวด” เจ้าสัวหมื่นล้านชาวมาเลเซียเจ้าของอาณาจักรเอ็มบีไอกรุ๊ป ขึ้นเครื่องกลับไปดำเนินคดีจีนในข้อหาฟอกเงินตามคำสั่งอัยการสูงสุด ท่ามกลางการคุ้มกันอย่างเข้มงวดของเจ้าหน้าที่ทางการไทยและจีน เผยก่อนนี้เมื่อ ก.ค.65 “บิ๊กโจ๊ก” ตะครุบตัวได้คารังชายแดนใต้ ตามหมายแดงอินเตอร์โพลข้อหาฟอกเงิน แฉพฤติการณ์เป็นที่ต้องการตัวของทั้ง 2 ประเทศ ก่อเหตุระดมทุนสร้างเครือข่าย “แชร์ลูกโซ่” หลอกลวงนักลงทุนทำเจ้าตัวกลับบ้านทั้ง 2 ประเทศไม่ได้ ย้ายมาปักหลักลงทุนทำธุรกิจในเมืองไทยนานร่วม 10 ปี สร้างสาธารณประโยชน์ด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะที่ด่านนอกชายแดนไทยมาเลเซียจนชื่อเสียงดังกระฉ่อน

ส่งกลับ “เตียว ฮุยฮวด” เจ้าสัวหมื่นล้านชาวมาเลเซียกลับไปดำเนินคดีที่จีนในคดี “ฟอกเงิน” วันที่ 20 ส.ค.มีรายงานว่า กองการต่างประเทศเข้ารับตัวนายเตียว ฮุยฮวด ชาวมาเลเซีย มหาเศรษฐีนักธุรกิจหมื่นล้านชาวมาเลเซียเจ้าของอาณาจักรเอ็มบีไอกรุ๊ป ข้อหาจัดตั้งองค์กรที่ชักจูงและประกอบสินค้าขายตรง โดยแอบอ้างเป็นธุรกิจการให้บริการ โดยให้ผู้เข้าร่วมชำระเงินค่าบริการหรือสินค้าเพื่อเข้าเป็นสมาชิกที่มีลักษณะแชร์ลูกโซ่ที่ประเทศจีน ถูกจับตามหมายแดงอินเตอร์โพลข้อหาฟอกเงิน นำตัวส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้กับประเทศจีน ตามคำสั่งอัยการสูงสุด

กรณีนี้สืบเนื่องจากศาลอาญามีคำสั่งถึงที่สุดให้ส่งตัวนายเตียว ฮุยฮวด เป็นผู้ร้ายข้ามแดนให้กับทางการสาธารณรัฐประชาชนจีนภายใน 90 วัน นับแต่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดเมื่อวันที่ 21 พ.ค. พนักงานอัยการได้ยื่นคำร้องให้ศาลมีคำสั่งขยายเวลาการส่งมอบตัวให้แก่สาธารณรัฐประชาชนจีนออกไป ศาลอนุญาตให้ขยายกำหนดไปจนถึงวันที่ 15 พ.ย. สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยจัดเจ้าหน้าที่มารับตัวจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ กำหนดเดินทางเที่ยวบิน CA960 เวลา 19.35 น. นำตัวส่งห้องควบคุมชั่วคราวที่ท่าอากาศ ยานสุวรรณภูมิ จัดเจ้าหน้าที่ร่วมควบคุมตัวผู้ร้ายข้ามแดน และฝ่ายพิธีการเข้าเมืองอำนวยความสะดวกในการตรวจอนุญาตให้ผู้ร้ายข้ามแดนออกจากราชอาณาจักรตามคำสั่งศาล มีรายงานว่ามีการเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินส่งตัวผู้ต้องหาที่ทางการจีนต้องการอย่างกะทันหันเป็นเที่ยวบิน FM 834 กรุงเทพฯ-เซี่ยงไฮ้ สายการบินเซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์ ออกเดินทางเวลา 17.34 น.ในวันเดียวกัน ท่ามกลางการอารักขาอย่างเข้มงวดของเจ้าหน้าที่ทางการไทยและจีน

สำหรับนายเตียว ฮุยฮวด ชาวมาเลเซีย เป็นผู้ต้องหาคนสำคัญ ทั้งทางการมาเลเซีย และทางการจีน ประสานทางการไทยขอให้ส่งตัวเป็นผู้ร้ายข้ามแดน ศาลมีคำสั่งให้ส่งตัวกลับไปให้ประเทศจีนดำเนินคดี มีรายงานว่าขั้นตอนรับตัวผู้ต้องหาจากเรือนจำนำส่งประเทศจีน กระทรวงการต่างประเทศมีคำสั่งกำชับเรื่องให้ข่าวผู้ต้องหา

คดีนี้สืบเนื่องวันที่ 22 ส.ค.65 พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล อดีตรอง ผบ.ตร. สมัยเป็นผู้ช่วย ผบ.ตร. นำกำลังตำรวจ สภ.สะเดา จ.สงขลา และ ตม.สงขลา นำหมายแดงองค์การตำรวจสากลหรืออินเตอร์โพล ตรวจค้นบริษัท เอ็มบีไอ จำกัด เลขที่ 888 ถนนกาญจนวณิชย์ เทศบาลตำบลสำนักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา จับกุมนายเตียว ฮุยฮวด หรือเสี่ยวจาง อายุ 56 ปี นักธุรกิจชาวมาเลเซียเจ้าของอาณาจักรเอ็มบีไอกรุ๊ป แจ้งข้อหาความผิดฐานฟอกเงิน นำตัวไปที่ ตม.สงขลา เพิกถอนวีซ่าการพำนักอยู่ในประเทศไทย ก่อนควบคุมตัวไปสอบสวนที่กรุงเทพฯ

เบื้องหลังจับกุมเมื่อปี 65 ตำรวจ ตม.สงขลา ได้รับหมายแดงของอินเตอร์โพลระบุว่า นายเตียว ฮุยฮวด กระทำความผิดในประเทศจีน เมื่อวันที่ 9 พ.ย.63 ระดมทุนสร้างเครือข่ายลักษณะ “แชร์ลูกโซ่” เปิดบริษัทที่ประเทศมาเลเซียสร้างแพลตฟอร์มลักษณะแชร์ลูกโซ่หลอกลวงคนจีนให้สมัครเป็นสมาชิกแบ่งเป็น 8 ระดับ มีการจัดดูงานต่างประเทศ ประชุมระดับผู้นำแล้วจะจ่ายเงินให้สมาชิกตามระดับ มีคนจีนหลงเชื่อสมัครเป็นสมาชิกจำนวนมาก นอกจากนี้ยังถูกหมายจับประเทศมาเลเซีย นายเตียว ฮุยฮวด ถูกดำเนินคดีอายัดทรัพย์สินตรวจสอบข้อหาทำธุรกิจแชร์ลูกโซ่ จากการขายหุ้นธุรกิจในเครือเอ็มบีไอกรุ๊ปให้กับประชาชนในมาเลเซีย จนธุรกิจในประเทศมาเลเซียและในประเทศจีนไม่สามารถเดินต่อไปได้จึงไม่กลับมาเลเซียและลงทุนทำธุรกิจอยู่ในประเทศไทยเรื่อยมา พร้อมทั้งสร้างสาธารณประโยชน์ด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่เป็นจำนวนมาก

นายเตียว ฮุยฮวด หรือเสี่ยวจาง ปักหลักอยู่ในเมืองไทยนานร่วม 10 ปี มีบริษัทในเครือประกอบกิจการโรงแรม สถานบันเทิง สวนสนุก ตลาด ธุรกิจก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ และเฟอร์นิเจอร์ รวมมูลค่านับหมื่นล้านบาท ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบ้านด่านนอก ต.สำนักขาม พื้นที่กว่า 100 ไร่ สร้างและซื้อกิจการโรงแรมระดับ 5 ดาว 6 โรงแรม และสถานบันเทิงต่างๆกว่า 10 แห่ง รวมทั้งสร้างพระพิฆเนศองค์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยสูงกว่า 59 เมตร มูลค่า 50 ล้านบาท และสร้างพระพรหมประดับด้วยอัญมณีมูลค่ากว่า 20 ล้านบาท ให้ประชาชนชาวไทยและนักท่องเที่ยวสักการะบูชาที่เทวสถานพระพิฆเนศบ้านด่านนอก ก่อนหน้านี้ ปี 59 นายเตียว ฮุยฮวด ตกเป็นข่าวพัวพันองค์กรค้ายาเสพติด ภายหลังพิสูจน์แล้วไม่เกี่ยวข้อง แต่สุดท้ายถูกจับกุมส่งกลับไปดำเนินคดีที่ประเทศจีนในที่สุด

评论

发表回复

您的邮箱地址不会被公开。 必填项已用 * 标注